วันพุธที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2560

คำขอบรรพอุปสมบทแบบอุกาสะ

คำขอบรรพอุปสมบทแบบอุกาสะ

(สำหรับผู้ที่เข้านาคไม่ทัน)
คำขอบรรพชา
อุกาสะ วันทามิ ภันเต, สัพพัง  อะปะราธัง  ขะมะถะ  เม  ภันเต, มะยา  กะตัง ปุญญัง สามินา  
อะนุโมทิตัพพัง, สามินา กะตัง ปุญญัง มัยหัง ทาตัพพัง, สาธุ สาธุ อนุโมทามิ/
อุกาสะ การุญญัง กัตะวา, ปัพพัชชัง เทถะ เม ภันเต/
นั่งคุกเข่า ประนมมือ กล่าวว่า
อะหัง ภันเต, ปัพพัชชัง ยาจามิ/
ทุติยัมปิ อะหัง ภันเต, ปัพพัชชัง ยาจามิ/
ตะติยัมปิ อะหัง ภันเต, ปัพพัชชัง ยาจามิ/
สัพพะทุกขะ นิสสะระณะ,นิพพานะ สัจฉิกะระณัตถายะ, อิมัง กาสาวัง คะเหตะวา, ปัพพาเชถะ มัง  ภันเต, อะนุกัมปัง อุปาทายะ/  (กล่าว ๓ จบ)
สัพพะทุกขะ นิสสะระณะ,นิพพานะ สัจฉิกะระณัตถายะ, เอตัง กาสาวัง  ทัตะวา,  ปัพพาเชถะ มัง ภันเต, อะนุกัมปัง อุปาทายะ/ (กล่าว ๓ จบ)
ลำดับนี้พระอุปัชฌาย์จะให้มูลกัมมัฏฐานตามแบบประเพณีที่ทำสืบกันมา โดยว่าตามดังนี้
เกสา โลมา นะขา ทันตา ตะโจ        (นี้เรียกว่า อนุโลม)
ตะโจ ทันตา นะขา โลมา เกสา        (นี้เรียกว่า ปฏิโลม)
 คำขอสรณคมน์และศีล
อุกาสะ วันทามิ ภันเต, สัพพัง  อะปะราธัง  ขะมะถะ  เม  ภันเต, มะยา  กะตัง ปุญญัง สามินา 
อะนุโมทิตัพพัง, สามินา กะตัง ปุญญัง มัยหัง ทาตัพพัง, สาธุ สาธุ อนุโมทามิ/
อุกาสะ การุญญัง กัตะวา, ติสะระเณนะ สะหะ สีลานิ เทถะ เม  ภันเต/
อะหัง ภันเต, สะระณะสีลัง ยาจามิ/
ทุติยัมปิ อะหัง ภันเต, สะระณะสีลัง ยาจามิ/
ตะติยัมปิ อะหัง ภันเต, สะระณะสีลัง ยาจามิ/
ลำดับนี้พระอาจารย์จะกล่าวคำนำให้นาคกล่าวตาม
 นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ (๓ จบ)
          พระอาจารย์กล่าวว่า ยะมะหัง วะทามิ ตัง วะเทถ
          ให้นาครับว่า อามะ ภันเต
จากนั้นพระอาจารย์ จะให้ สรณคมน์ และศีลให้นาคกล่าวตามดังนี้
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ,
ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ,  สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ,
ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ,
ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ, ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ,
ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ,
ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ, ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ.
พระอาจารย์กล่าวว่า ติสะระณะคะมะนัง นิฏฐิตัง  ให้นาครับว่า อามะ ภันเตพระอาจารย์จะกล่าวนำศีล ๑๐ ให้กล่าวตามทีละบท ดังนี้
(๑) ปาณาติปาตา เวระมะณี/  สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ/
(๒) อะทินนาทานา เวระมะณี/ สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ/
(๓) อะพรัหมะจะริยา เวระมะณี/ สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ/
(๔) มุสาวาทา เวระมะณี/  สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ/
(๕) สุรา เมระยะ มัชชะ ปะมาทัฏฐานา เวระมะณี/
สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ/
(๖) วิกาละโภชะนา เวระมะณี/  สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ/
(๗) นัจจะ คีตะ วาทิตะ วิสูกะทัสสะนา เวระมะณี/ 
สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ/
(๘) มาลา คันธะ วิเลปะนะ ธาระณะ มัณฑะนะวิภูสะนัฏฐานา เวระมะณี/ สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ/
(๙) อุจจาสะยะนะ มะหาสะยะนา เวระมะณี/  สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ/
 (๑๐) ชาตะรูปะ ระชะตะ ปะฏิคคะหะณา เวระมะณี/ สิกขา ปะทัง สะมาทิยามิ/
แล้วท่านจะกล่าว  อิมานิ ทะสะ สิกขาปะทานิ สะมาทิยามิ (๓ ครั้ง) ให้เรารับว่า “อามะ ภันเต” ทั้ง ๓ ครั้ง แล้วคุกเข่ากราบ ๓ ครั้ง
คำขอนิสัย
อุกาสะ วันทามิ ภันเต, สัพพัง  อะปะราธัง  ขะมะถะ  เม  ภันเต, มะยา  กะตัง ปุญญัง สามินา อะนุโมทิตัพพัง, สามินา กะตัง ปุญญัง มัยหัง ทาตัพพัง, สาธุ สาธุ อนุโมทามิ/
อุกาสะ การุญญัง กัตะวา, นิสสะยัง  เทถะ เม  ภันเต/
อะหัง  ภันเต, นิสสะยัง ยาจามิ/
ทุติยัมปิ อะหัง ภันเต, นิสสะยัง ยาจามิ/
ตะติยัมปิ อะหัง ภันเต, นิสสะยัง ยาจามิ/
เสร็จแล้วให้ว่า  อุปัชฌาโย เม ภันเต โหหิ (๓ ครั้ง)
พระอุปัชฌาย์กล่าวว่า       สามเณรรับว่า
ปะฏิรูปัง                    อุกาสะ สัมปะฏิจฉามิ
โอปายิกัง                   สัมปะฏิจฉามิ
ปาสาทิเกนะ สัมปาเทหิ      สัมปะฏิจฉามิ
เสร็จแล้วให้ว่า อัชชะตัคเคทานิ เถโร มัยหัง ภาโร//  อะหัมปิ     เถรัสสะ ภาโร// (๓ ครั้ง)
เมื่อท่านกล่าวสอนและบอกความหมายของอุปัชฌาย์แล้วท่านก็จะบอกบริขาร
คำบอกบริขาร
พระอุปัชฌาย์กล่าวว่า      สามเณรรับว่า
อะยันเต ปัตโต              อามะ ภันเต
อะยัง สังฆาฏิ               อามะ ภันเต
อะยัง อุตตะราสังโฆ         อามะ ภันเต
อะยัง อันตะระวาสะโก      อามะ ภันเต
 
คำถามอันตรายิกธรรม
พระคู่สวดถาม              สามเณรตอบรับว่า
กุฏฐัง                       นัตถิ ภันเต
คัณโฑ                      นัตถิ ภันเต
กิลาโส                      นัตถิ ภันเต
โสโส                        นัตถิ ภันเต
อะปะมาโร                   นัตถิ ภันเต
มะนุสโสสิ๊                   อามะ ภันเต
ปุริโสสิ๊                      อามะ ภันเต
ภุชิสโสสิ๊                   อามะ ภันเต
อะนะโณสิ๊                   อามะ ภันเต
นะสิ๊ราชะภะโฏ              อามะ ภันเต
อะนุญญาโตสิ๊ มาตาปิตูหิ    อามะ ภันเต
ปะริปุณณะวีสะติวัสโสสิ๊     อามะ ภันเต
ปะริปุณณันเต ปัตตะจีวะรัง อามะ ภันเต
กินนาโมสิ                   อะหัง ภันเต (บอกฉายา..........) นามะ
โก นามะ เต อุปัชฌาโย     อุปัชฌาโย เม ภันเต อายัสะมา
                   (บอกฉายาอุปัชฌาย์...............) นามะ 
คำขออุปสมบท
สังฆัมภันเต, อุปะสัมปะทัง ยาจามิ, อุลลุมปะตุ มัง ภันเต สังโฆ, อะนุกัมปัง อุปาทายะ/
ทุติยัมปิ ภันเต สังฆัง, อุปะสัมปะทัง ยาจามิ, อุลลุมปะตุ มัง ภันเต สังโฆ, อะนุกัมปัง อุปาทายะ/
ตะติยัมปิ ภันเต  สังฆัง, อุปะสัมปะทัง  ยาจามิ, อุลลุมปะตุ มัง
ภันเต สังโฆ, อะนุกัมปัง อุปาทายะ/
(จบคำสำคัญคำขอบรรพชาอุปสมบท)
J0105250
           ดูกร อานนท์ !!
          บุคคลใดมีศรัทธา บรรพชาทาสกรรมกรให้เป็นสามเณร  
          หรือสามเณร มีอานิสงส์ ๔ กัล์ป บวชเป็นภิกษุหรือ
          ภิกษุณี มีอานิสงส์ ๘ กัล์ป   และถ้าอุปสมบทจะได้รับ
          อานิสงส์ ๑๖ กัล์ป
          หากอุปสมบทได้อานิสงส์ ๓๒ กัล์ป
          ถ้าอุปสมบทตนเองในพระพุทธศาสนา ด้วยศรัทธา
เลื่อมใสจะได้อานิสงส์ถึง ๖๔ กัล์ป
บุคคลใดได้บรรพชาบุตรตนก็ดี บุตรของผู้อื่นก็ดี ก็จะไม่ ไปสู่อบายภูมิ
           ( พระพุทธเจ้าตรัสสอนเรื่องการบรรพชาอุปสมบท ดังนี้ท่านทั้งหลาย : ข้อมูลจากพระไตรปิฎก)
 
   คำขอขมาของนาค
          กายกรรม ๓ วจีกรรม ๔ มโนกรรม ๓ ที่ข้าพเจ้าได้
          ล่วงเกินต่อบุพพการี บิดามารดา และผู้มีพระคุณทั้งหลาย
          รู้ก็ดี ไม่รู้ก็ดี เห็นก็ดี ไม่เห็นก็ดี ต่อหน้าก็ดี ลับหลังก็ดี
          ขอให้ท่านโปรดอโหสิกรรมต่อกรรมนั้นๆ ของข้าพเจ้า
          บัดนี้ข้าพเจ้า จะขอบรรพชาอุปสมบทเพื่อทดแทนพระคุณ
นั้น และเพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จ
พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช อันเป็นที่รักยิ่งของ
ข้าพเจ้าที่พระองค์ได้เสด็จสวรรคตสู่สวรรคาลัยด้วย
ผลานิสงส์แห่งการบรพชาอุปสมบทนี้ จงเป็นปัจจัย
อานิสงส์อันยิ่งใหญ่ ให้พระองค์มีพระเกษมสำราญ สถิต
ในทิพยวิมาน ตลอดกาลเป็นนิตย์ เทอญ ฯ